BLOG

มองไปข้างหน้า ประเมินสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย และจะอยู่กับ COVID-19 อย่างไร…

ทบทวนกันก่อนมีอะไรเกิดขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2563 ถึงปัจจุบัน 9 มกราคม 2564 เราเริ่มปี 2564 ด้วยความท้าทายกับการระบาดของ COVID-19 ต่อเนื่องจากเมื่อปลายปี 2563 การระบาดระลอกใหม่ เริ่มตั้งแต่ธันวาคม 2563 การระบาดครั้งนี้มาจากแรงงานพม่าในตลาดกุ้ง จังหวัดสมุทรสาคร

อ่านเพิ่มเติม

ในวิกฤติมีโอกาส ในโอกาสมีวิกฤติ

สังคมไทยกับสิ่งที่มีอยู่จริงแต่ทำเสมือนไม่มี…การแพร่ระบาดของ COVID-19 ก็เช่นกัน การจำกัดการแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นเรื่องท้าทายของทุกประเทศ ถึงขณะนี้มีผู้ติดเชื้อจากทั่วโลกกว่า 79.9 ล้านคนและยังไม่มีวี่แววว่าจะควบคุมได้ จำนวนผู้ติดเชื้อยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกวัน

อ่านเพิ่มเติม

การจัดการความขัดแย้ง…ผู้นำเชิงระบบ การคิดเชิงระบบ

ในโลกปัจจุบันได้เกิดความท้าทาย ความขัดแย้งอยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็นระหว่างประเทศ หรือภายในประเทศ เรื่องความเหลื่อมล้ำ ความยากจน การเข้าถึงทรัพยากร ประเด็นเรื่องความเที่ยงธรรม ความยุติธรรม ความแตกต่างหลากหลายของมนุษย์กับเรื่องของประเพณี วัฒนธรรม ภาษา ศาสนา ความเชื่อ

อ่านเพิ่มเติม

สังคมไทยกับวิกฤตเรื่องความเชื่อใจ วิกฤตศรัทธา

การพัฒนาประเทศไทย เพื่อให้หลุดพ้นปัญหาเรื่องเศรษฐกิจ ความยากจน ความเหลื่อมล้ำ คอร์รัปชั่น ความขัดแย้งต่าง ๆ เป็นเรื่องที่ท้าทายมาก และเนื่องจากการปฏิรูปประเทศไม่สามารถทำไปพร้อม ๆ กันได้ในคราวเดียวในทุกมิติ สิ่งที่ควรปฏิรูปเป็นอย่างแรกในประเทศคือปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

อ่านเพิ่มเติม

Shifting the Burden การผลักภาระ – ไปในอนาคต ไปให้ผู้อื่น ไปให้สิ่งอื่น

กับอีกหนึ่งบ่ายที่ได้ทบทวนเรื่องการคิดเชิงระบบ การเป็นผู้นำเชิงระบบ กับหนังสือเล่มโปรดอีกหนึ่งเล่ม Thinking in Systems: A Primer” by Donella H. Meadows.

อ่านเพิ่มเติม

วิถีแห่งเต๋า…กับมุมโปรดในเช้าวันอาทิตย์ กับหนังสือเล่มโปรด

หนังสือแต่ละเล่ม เมื่อนำมาอ่านซ้ำ เป็นสิ่งที่น่าสนใจสำหรับผมเสมอที่ได้สังเกตเห็นว่า เราจะได้ความคิดใหม่ ๆ แตกต่างไปจากเดิม และการกลับมาอ่าน วิถีแห่งเต๋าอีกครั้งในเมื่อวานนี้ ผมก็ได้มุมมองความคิดใหม่จากอ่านครั้งนี้เช่นกัน ทั้งนี้น่าจะเป็นเพราะประสบการณ์ของเรา ช่วงเวลาที่ต่างกัน ความคิด สภาพแวดล้อมที่ต่างกันไป

อ่านเพิ่มเติม

คนไทยกับชีวิตวิถีใหม่ สร้างพฤติกรรมใหม่ New Normal, New ME

จากเหตุการณ์ covid-19 จนถึงขณะนี้ ทำให้มีผู้ทำเรื่องชุดภาพอนาคต หรือที่อาจเรียกว่าฉากทัศน์ scenarios มากมาย และล่าสุดกับยุทธการ “ทุบด้วยฆ้อนแล้วฟ้อนรำ” The Hammer & The Dance

อ่านเพิ่มเติม

Systems Awareness ธรรมชาติกำลังดูแลตนเอง ท่ามกลางวิกฤต COVID-19

จากเหตุการณ์ การแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นตัวอย่างที่ดีของเรื่องระบบ การคิดเชิงระบบ ความเชื่อมโยงของสรรพสิ่งต่างๆ บนโลกนี้ เราทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของระบบ มนุษย์เรามิได้แยกส่วนออก สิ่งที่เราทำ การกระทำของเราส่งผลกระทบไปยังผู้อื่น สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ

อ่านเพิ่มเติม

Iceberg & Systems Thinking

จากข่าวจ่าทหาร ท่านหนึ่งเถียงกับผู้ว่าฯ ต่อมาถูกผู้บังคับบัญชาลงโทษสั่งขัง จนถึงตอนนี้ได้มีการเข้าไปช่วยเหลือดูแลคุณแม่ของจ่าที่ป่วยแล้ว เรื่องที่เกิดขึ้น ทำให้นึกถึงภาพภูเขาน้ำแข็งที่ผมมักใช้เวลาพูดคุยกับผู้นำใน หลากหลายโอกาส

อ่านเพิ่มเติม

The matter of less effort.

กับมุมโปรดของผม ปกติจะมีเวลาอยู่กับตัวเองสัปดาห์ละครั้งสองครั้ง เพื่อสังเกต ทบทวนตนเองช่วงนี้มีโอกาสได้อยู่กับตนเองมากขึ้น เรียนรู้ ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ เส้นทางการสร้างการ เปลี่ยนแปลงเชิงระบบด้วยความรัก ความเอื้ออาทร
 

การสื่อสารในภาวะวิกฤต

  • พูดน้อยลง พูดให้ดีกว่าเดิม
  • พูดด้วยหัวใจของคุณ &
  • เมื่อคุณไม่รู้ ก็บอกว่าคุณไม่รู้ เพราะไม่มีทางที่คุณจะรู้ทุกเรื่อง

อ่านเพิ่มเติม

Change is a choice

ครบรอบ 10 วันหลังจากที่ประเทศไทยมี พ.ร.ก.ฉุกเฉิน อยากจะชวนทุกท่านหาเวลาทบทวนสิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่มีการระบาดของ COVID-19 มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ บ้าง ดูว่าระหว่างวิกฤตนี้เราทำอะไรได้บ้าง รวมถึงหาเวลาตั้งเป้าหมายของตัวเรา เพื่อรับมือกับสิ่งที่กำลังจะมาถึงครับ

อ่านเพิ่มเติม

ความตื่นรู้ vs รู้ vs ความตระหนก Self-awareness vs Knowledge vs Panic

เราไม่สามารถทำให้คนตื่นรู้ ตระหนักรู้ หรือมีสติ  “โดยการบอก” ให้คนตื่นรู้ บอกให้คนตระหนักรู้ บอกให้คนมีสติ ความตื่นรู้นั้นเกิดขึ้นภายในตนเอง ด้วยตนเอง และเช่นกันเรา “ห้าม” ให้คนไม่ตระหนกไม่ได้ เราไม่สามารถทำให้คนไม่ตระหนก โดยการบอก สิ่งที่เราทำได้คือทำให้  “รู้” โดยการให้ข้อมูล สิ่งที่ผู้นำควรทำในภาวะวิกฤตคือ สื่อสารด้วยข้อมูลเท็จจริง รวมถึงเข้าใจจิตวิทยาความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ 5 ด้าน

อ่านเพิ่มเติม

ในช่วงที่มีเหตุการณ์ สถานการณ์วิกฤต สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ควรสร้างในฐานะของผู้นำ ผู้บริหาร

In time of Crisis… Being mindful in your own thoughts & actions are needed
สร้างความร่วมมือ ลดความแบ่งแยก เรียนรู้ ถอดบทเรียนอย่างรวดเร็ว กำหนดมาตรการที่สามารถรับมือกับสถานการณ์ที่หลากหลาย และทำความเข้าใจสร้างสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับจิตวิทยาความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ 5 ด้าน

อ่านเพิ่มเติม

กฎ 11 ข้อของนักคิดเชิงระบบ (ตอนที่ 2)

คราวที่แล้ว เราได้พูดถึงกฎของการคิดเชิงระบบไป 5 ข้อได้แก่ หนึ่ง ปัญหาของวันนี้ มาจาก “การแก้ปัญหา” ของเมื่อวาน สอง ยิ่งคุณผลักดันอย่างหนัก ระบบจะยิ่งผลักกลับมาแรงกว่า สาม พฤติกรรมจะดีขึ้น ก่อนที่มันจะแย่ลง และสี่ ทางออกง่ายๆ จะพาเราวนกลับมาที่เดิมอีกครั้ง

ในครั้งนี้เราจะมาต่อกฎข้อที่เหลือกันครับ

อ่านเพิ่มเติม

 

Book_TheFifthDiscipline

กฎ 11 ข้อของนักคิดเชิงระบบ (ตอนที่ 1)

ข้อ 11 ข้อของนักคิดเชิงระบบนี้
ผมพบจากหนังสือ The Fifth Discipline ของอาจารย์ Peter Senge 
hand-1917895_960_720

กระบวนการห้องปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab)

เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบจากภายใน 
ความหมายและความสำคัญปัญหา ความท้าทาย สภาพสังคม
สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจในปัจจุบันอยู่ในสถานการณ์ที่เรียกว่า …
Sun-light

IKIGAI Organization เริ่มต้นจากสภาพแวดล้อม

ในโลกที่เต็มไปด้วยความรู้ มีหลักการและทฤษฏีมากมายที่ถูกแบ่งปันในอินเทอร์เน็ต หลักสูตรความสุข ความรวยมีสอนกันทุกอาทิตย์ แต่กระนั้นผู้คนก็ยังไม่สามารถมีความสุขและความรวยได้อย่างแท้จริง …
ikigai02

IKIGAI Organization ชีวิตจริงไม่เหมือนทฤษฏี

อิคิไก คือ อะไรบางอย่างที่เราไปให้ความหมายมันว่ามันสำคัญกับชีวิตของเรา ดังนั้นถ้าเราลองแยกองค์ประกอบตามความหมายนี้ ก็จะพบคีย์เวิร์ดที่สำคัญ ซึ่งได้แก่ อะไรบางอย่าง, ตัวเรา, การให้ความหมาย, สำคัญ และชีวิต …
Chicago-Building

IMAGINE CHICAGO สู่ IMAGINE THAILAND

Imagine Chicago เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรที่ดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 1992 ก่อตั้งโดย Bliss Browne โดยการรวมเอาพลเมืองที่หลากหลายของชิคาโกมาร่วมกันจินตนาการถึงเมืองชิคาโกในฝันที่ทุกคนอยากให้เป็น และให้ทุกคนร่วมสร้างชิคาโกแบบนั้นร่วมกัน …
OD-organization-development

ทำไมจะต้องพัฒนาองค์กร Why OD ?

ทำไมจะต้องพัฒนาองค์กรผมว่าคำถามนี้คล้ายๆ กับคำถามที่ว่า ทำไมจะต้องเปลี่ยนให้ดีขึ้นกว่าเดิมด้วย ผมมีเรื่องจะเล่าให้คุณผู้อ่านฟังครับ ทฤษฎีกบต้ม ของ Tichyand Sherman มีนักวิทยาศาสตร์ท่านหนึ่งชื่อ Tichyand Sherman …
meeting-room

การพัฒนาองค์กร คือ นวัตกรรมแห่งการทำงาน

หากเราเปรียบเทียบการทำงานของเราทุกๆ วัน ที่เราทำซ้ำไปซ้ำมา ซ้ำมาซ้ำไป ทุกวี่ทุกวันนั้น เป็นเหมือนเกม เกมหนึ่งเกมที่มีจุดเริ่มต้น Start Point คือ ตอนเช้า เข้ามาทำงาน เกมที่มีจุดจบ Ending Point คือ ตอนเย็นเลิกงาน กลับบ้าน เกมที่มีคะแนน เป็น เงินเดือนหรือโบนัส ให้เก็บสะสมทุกเดือน ทุกปี…
building

What is OD? การพัฒนาองค์กรคืออะไร 

มีหลายต่อหลายคนที่ถามผมมาตลอดว่า “คุณทำงานอะไรกันแน่” ผมได้แต่ตอบพวกเขาไปว่า “ผมเปิดบริษัท OD Consult” นั่นเป็นคำตอบที่เหมือนจะทำให้คนถาม งงเข้าไปใหญ่ บางคนก็ถามกลับว่า “แล้ว OD มันคืออะไรหล่ะ”, “มันคือที่ไปกู้แบงค์มาเกินวงเงินใช่ไหม”,“คุณเป็นพนักงานธนาคารงั้นเหรอ” …
wake

ความหมายของการมีชีวิต เหตุผลในการมีชีวิต คุณค่าของชีวิต

ลองคิดดูว่า ถ้าในทุกเช้าเราตื่นก่อนที่นาฬิกาปลุกจะดัง ด้วยเหตุผลบางอย่างที่เรารู้สึกว่า เราอยากจะออกไปพบ ไปเจอ ไปทำ ชีวิตแบบนั้นคงเป็นชีวิตที่มีชีวามาก  …
photo-team

ทีมงานในดวงใจ ทีมงานศักยภาพสูง

จากการที่ผมได้มีโอกาสทำงานกับผู้นำในหลากหลายบริบท และแม้ว่าจะเป้าหมายที่ต่างกัน
แต่มีสิ่งหนึ่งที่ผู้นำที่ผมทำงานด้วยมักจะปรึกษากับผม คือเรื่องของทีมงาน การสร้างทีม ปัญหาการทำงานระหว่างทีมงาน การทำงานร่วมกันกับทีมงาน …